FASCINATION ABOUT ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Fascination About ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Fascination About ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Blog Article

นอกจากการให้ทุนการศึกษากับนักเรียนทุนในทุกเทอมแล้ว มูลนิธิฯ ยังปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ผ่านยุวพัฒน์สาร มีระบบดูแลประคับประคองเพื่อไม่ให้นักเรียนทุนหลุดออกจากระบบการศึกษากลางคันด้วยระบบพี่เลี้ยงอาสาทางโทรศัพท์ พี่เลี้ยงอาสาออนไลน์ โดยกลุ่มปิดเฟซบุ๊กนักเรียนทุนยุวพัฒน์ มีทีมลงพื้นที่เยี่ยมคุณครูที่ดูแลนักเรียนทุน พร้อมทั้งติดตามความเป็นไปของนักเรียนทุนทั้งที่โรงเรียนหรือที่บ้าน

ทุนพัฒนาอาชีพและนวัตกรรมที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน

แผนการดำเนินงานและการใช้งบประมาณประจำปี

“แต่ละภาคส่วนจุดเด่นแตกต่างกัน ส่วนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จุดเด่นอยู่ที่ความคล่องตัวเมื่อทำงานกับภาคประชาสังคม มีอำนาจสั่งการมีการกำหนดโครงสร้างการทำงานตามลำดับขั้น มีเครือข่ายที่เข้มแข็ง ประสานงานกับภาครัฐและเอกชนได้ง่าย ส่วนภาครัฐมีอำนาจสั่งการ สามารถวางรากฐานที่เชิงนโยบายและโครงสร้างการทำงานตามลำดับขั้น มีทรัพยากรเป็นของตนเอง แต่มีความไม่คล่องตัวเนื่องจากระเบียบวิธีทางงบประมาณของภาครัฐ ขณะที่ภาคประชาสังคมจะขาดอำนาจในการสั่งการโดยตรง ขณะเดียวกันภาคประชาสังคมก็ทำงานแนวราบได้ดี แต่ขาดการเชื่อมโยงกับภาครัฐในการช่วยเหลือน้องๆ สุดท้ายภาควิชาการทำให้เกิดความร่วมมือที่หลากหลาย”

นอกจากปัญหาขาดแคลนครูแล้ว นักเรียนไทยอีกหลายล้านคนยังขาดแคลนหนังสือเรียน ชุดนักเรียน เครื่องเขียน และอาหารกลางวันด้วย

มาตรการการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาจากรัฐบาล เป็นการออกนโยบายเพื่อเข้ามาช่วยเหลือดูแลให้เด็ก และเยาวชนมีโอกาสได้รับสิทธิ และเสรีภาพที่จะได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เช่น มีนโยบายการกำหนดให้เด็ก และเยาวชนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการสนับสนุนค่าเล่าเรียนให้แก่นักเรียน เป็นต้น อีกทั้งปัจจุบันภาครัฐยังมีการสนับสนุน และดูแลให้โรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกล สามารถเข้าถึงสื่อการเรียนการสอนได้อย่างเท่าเทียมกับโรงเรียนในพื้นที่เขตเมือง โดยมีการช่วยเหลือในการจัดหาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และการติดตั้งสัญญาณอินเทอร์เน็ต เพื่อทำให้ขอบข่ายการเรียนรู้ขยายกว้าง และมีความสะดวกมากยิ่งขึ้น 

อาจารย์ดนัยวัฒน์ มณี ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านปางมะหัน อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย เสนอว่าหากเป็นไปได้ น่าจะมีการกำหนดมาตรฐานขั้นต่ำของโรงเรียน เช่น โรงเรียนจะต้องมีบุคลากรประเภทใดบ้าง จำนวนกี่คน หรือกระทั่งว่าห้องเรียนที่มีมาตรฐานควรมีรูปร่างหน้าตาอย่างไร ซึ่งเป็นสิ่งเราสามารถกำหนดได้ตั้งแต่ระดับรัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการ จนถึง สพฐ.

เดินหมากธุรกิจอย่างไรในเกมกระดานโลก

เราจะพบว่าโรงเรียนไม่ได้เป็นเพียงแค่สถาบันเพื่อการเรียนรู้เพียงอย่างเดียว แต่ยังเป็นพื้นที่หนึ่ง ที่ทำให้เด็กมีพัฒนาการทางร่างกายสมวัย ยกตัวอย่างในกรณีเด็กยากจน เด็กที่มีพ่อแม่เป็นกรรมกรเคลื่อนย้าย หรือเด็กกลุ่มชาติพันธุ์ การจัดบริการอาหารเช้าและอาหารกลางวันในโรงเรียน หรือบริการอื่น ๆ ในโรงเรียน เป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยผ่อนคลายภาระของครอบครัวเป็นอย่างมาก

ช่องว่างของรายได้และทรัพย์สินดังกล่าวส่งผลกระทบทอดยาวไปสู่ความเหลื่อมล้ำด้านอื่นๆ ในสังคม หนึ่งในนั้นคือความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษา รายงานเรื่องความไม่เสมอภาคทางการศึกษาของคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา (กอปศ.) เผยสถานการณ์ปัจจุบันว่า

หน้าที่ของกระทรวงศึกษาธิการคือผลิตทรัพยากรมนุษย์ทั้งในระบบ นอกระบบหรือตามอัธยาศัย ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ซึ่งขณะนี้ได้ขับเคลื่อนเรื่องธนาคารหน่วยกิตที่เป็นการสะสมหน่วยกิตจากผลการเรียน การฝึกอบรม ประสบการณ์ และทักษะ เพื่อเป็นโอกาสทางการศึกษาสำหรับทุกช่วงวัยนำไปใช้ต่อยอดในการศึกษาต่อ เพราะปัจจุบันไม่ใช่แค่การพัฒนาคุณวุฒิผู้เรียนเท่านั้น แต่ยังต้องมุ่งพัฒนาทักษะเด็กให้ทันโลกด้วย ที่สำคัญต้องไม่อัดวิชาการเกินหลักสูตรในโรงเรียน เพราะจะนำไปสู่การเรียนพิเศษที่สร้างความเหลื่อมล้ำได้

คลื่น “ความเหลื่อมล้ำ” ทางการศึกษา ซัดเด็กไทยให้หายไประหว่างทาง ความยากจนซ้ำเติม “เด็กหลุดจากระบบ”

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย. เปลี่ยน ‘เหลื่อมล้ำ’ เป็น ‘เสมอภาค’ : มองปัญหาการศึกษาไทยกับ ดร.

เด็กที่นี่เป็นเด็กที่มีความกระตือรือร้น มีความรับผิดชอบ และทางโรงเรียนก็เสริมทักษะให้ฝึกความรับผิดชอบของเด็กนักเรียน ขึ้นไปอีกขั้น โดยมอบหมายหน้าที่ให้รุ่นพี่รับผิดชอบดูแลรุ่นน้อง มีการจัดเวรประจำวัน ทำอาหาร ฝึกความมีน้ำใจช่วยเหลือครู เพื่อนและพี่น้องร่วมโรงเรียน 

Report this page